Terminal คืออะไร? จุดเชื่อมต่อทางไฟฟ้าถือเป็นพื้นฐานสำคัญในการทำงานของระบบต่างๆในโรงงาน โดยเฉพาะในตู้คอนโทรลที่มีการเชื่อมต่อของสายไฟจำนวนมากความเสียหายที่เกิดขึ้นอาจลุกลาม หากอุปกรณ์ที่ใช้งานไม่ได้มาตรฐานและมีการจัดเก็บสายไม่เป็นระเบียบ เพราะการทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมหลายครั้ง เรามักมองข้ามอะไรเล็ก ๆ น้อย ๆ โดยเฉพาะเวลาที่มีรายละเอียดต่าง ๆ จำนวนมากที่ต้องใส่ใจ ปัญหาที่เกิดขึ้นอาจไม่ได้อยู่ในจุดที่มองเห็นง่ายหรือสามารถรับรู้ได้ก่อนเกิดปัญหาอย่างชัดเจน เช่นเดียวกับกรณีของความเสี่ยงจากการใช้งาน Terminal Block หากเกิดการลัดวงจรหรือความเสียหายแล้ว อาจลุกลามจนสร้างความเสียหายที่มีมูลค่าสูงเกินกว่าที่จะรับไหว ถ้ามองในมุมของการใช้งาน Terminal Block อาจไม่ต่างกับการนำสายไฟ 2 เส้น มาเชื่อมต่อกันจากนั้นจึงเอาเทปมาพันให้เป็นฉนวนเพื่อป้องกันการลัดวงจรหรือกันการสัมผัส แน่นอนว่าใช้งานได้เหมือนกันแต่ความแน่นหนาและความคงทนของการเชื่อมต่อนั้นแตกต่างกัน ซึ่งในกรณีที่มีสายไฟจำนวนมากในที่เดียวกันอย่างตู้คอนโทรล นอกจากไม่เป็นระเบียบสังเกตยากไม่รู้ว่าเส้นไหนคืออะไรแล้ว ถ้าเกิดเทปที่เชื่อมต่อไว้เกิดเสื่อมสภาพปัญหาที่เกิดทางไฟฟ้าจากการลัดวงจรหรือเกิดการอาร์คของประกายไฟก็จะเกิดขึ้นได้อย่างแน่นอน
[Pro-face] [BLUE] การทำ Alarm Acknowledge & Delete (EP.16)
“ BLUE Basic Training Guide EP.16 การทำ Alarm Acknowledge และการ Delete Alarm Part 1 : Alarm Acknowledge 1. สร้าง Switch สำหรับ Alarm Acknowledge2. กำหนดชื่อ Switch เป็น ack_alm 3. สร้าง Script
Magnetic Contactor กับ Control Relay ต่างกันอย่างไร?
Story Control Relay&Magnetic Contactor การเลือกใช้งาน นำมาใช้แทนกัน จะได้หรือไม่? Control Relay รีเลย์ควบคุมเป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานแม่เหล็ก สามารถสวิตซ์สั่งงานด้วยอินพุตต่างๆ เช่น PLC, Timer, Limit Switch หรืออุปกรณ์ควบคุมอื่นๆ เพื่อควบคุมโหลดทางไฟฟ้า โดยใช้แม่เหล็กไฟฟ้าในการเปิดหรือปิดวงจรในการตอบสนองต่อสัญญาณอินพุต หรือก็คือเมื่อขดลวดได้รับพลังงานก็จะสร้างสนามแม่เหล็กที่ดึงดูดชุดหน้าสัมผัส เพื่อควบคุมการไหลของพลังงานไฟฟ้าไปยังโหลด เนื่องจากมีโครงสร้างที่คล้ายๆแมกเนติกคอนแทคเตอร์จึงทนทานต่อสภาพอากาศและอุณหภูมิที่สูงได้ ทั้งยังถูกออกแบบให้ใช้ในงานเฉพาะและในสภาพแวดล้อมที่สมบุกสมบัน เหมาะสำหรับ การควบคุมมอเตอร์ การควบคุมแสงสว่าง หรือการควบคุมอุณหภูมิ Magnetic Contactor สวิตช์ตัดต่อวงจรไฟฟ้าที่ใช้ในระบบควบคุมโหลดไฟฟ้ากำลังสูง
[Pro-face] การเชื่อมต่อจอทัชสกรีน HMI กับ Barcode / QR Code Scanner
“ จอทัชสกรีน Pro-face สามารถเชื่อมต่อกับ Barcode Scanner เพื่ออ่านค่า Barcode / QR code ได้ผ่านทาง USB port หรือ Serial port “ Part 1 : การตั้งค่าการเชื่อมต่อ Barcode Scanner 1. ไปที่ Project Windows2. แถบ Peripheral
[Pro-face] [BLUE] การแสดงผล Alarm Summery (EP.15)
“ BLUE Basic Training Guide EP.15 การตั้งค่าการแสดงผล Alarm Summery รูปแบบ Mode ต่างๆ “ Alarm Summery มีรูปแบบ 3 Mode– Active– Historical– Log Part 1 : Add Alarm Group 1. ไปที่แถบ Tool
[Pro-face] [BLUE] การตั้งค่า Alarm Configuration (EP.14)
“ BLUE Basic Training Guide EP.14 การตั้งค่าและเปิดใช้งานฟังก์ชัน Alarm “ Versatile Software BLUE ประกอบด้วย Alarm จำนวน 2 รูปแบบ ได้แก่– Bool Alarm : รูปแบบ Boolean เช่น OFF/ON, 0/1, ปิด/เปิด– Level Alarm :
[Pro-face] [BLUE] การใช้งาน Script เบื้องต้น (EP.13)
“ BLUE Basic Training Guide EP.13 การใช้งาน Script เบื้องต้น พร้อมตัวอย่างการใช้งาน “ Part 1 : รูปแบบ Block Script 1. Trigger Blocks : บล็อกสำหรับ Trigger คำสั่ง Script เช่น คลิกปุ่ม, ตั้งรอบเวลา 2. Operation
[Weintek] การแปลงไฟล์ .db เป็น .csv ด้วย EasyConverter
“ ไฟล์จาก Sampling ของ HMI เป็นไฟล์ .db ที่สามารถนำไปใช้กับ Database ได้ทันที แต่หากต้องการเปิดด้วย MS Excel สามารถ Convert .csv ด้วย EasyConverter “ Part 1 : การแปลงไฟล์ .db เป็น .csv 1. เปิดโปรแกรม Utility Manager
[Weintek] ตั้งจอเป็น Gateway ส่งค่าระหว่าง PLC – PLC ผ่านจอ HMI ด้วย Data Transfer
“ Data Transfer สามารถส่งค่าจาก Address PLC ต้นทาง ไปยัง Address PLC ปลายทางได้ โดยใช้จอเป็น Gateway ตัวกลาง สามารถกำหนดรอบการส่งตามเวลา (Time-based) หรือคำสั่งทริกเกอร์ (Bit trigger) “ สร้าง Data Transfer 1. ไปที่แถบ Object2. เลือก Data Transfer 3.
[Pro-face] [BLUE] การสร้าง Pie Chart (EP.12)
“ BLUE Basic Training Guide EP.12 การสร้าง Pie Chart แสดงผลรูปแบบแผนภูมิวงกลม “ Part 1 : สร้างแผนภูมิ Pie Chart 1. ไปที่แถบ Tool Chest2. หมวด Shapes -> เลือก Arch3. ลาก Arch ไปวางบน Screen